Page 17 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 17
4. ฉัตรโหมด มี 5 แบบ คือ ฉัตรโหมดขาว 5 ชั้น ในปีต่อมาพระราชพิธีฉัตรมงคลถูกย้ายจาก
ส าหรับพระราชโอรส พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ เดือน 6 มาท าในเดือน 12 และเรียกว่า "การสมโภช
ที่ด ารงพระอิสริยยศเป็นพระองค์เจ้าต่างกรมชั้นกรมขุน พระมหาเศวตฉัตร" มีการจัดพระราชพิธีรวม 4 วัน
ฉัตรโหมดเหลือง 5 ชั้น ส าหรับพระราชโอรส พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ิ
พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ที่ด ารงพระอิสริยยศ รัชกาลที่ 6 มีพระราชพธีบรมราชาภิเษก 2 คราว คือ
ิ
เป็นพระองค์เจ้าต่างกรมชั้นกรมหมื่น พระราชพธีบรมราชาภิเษกและเฉลิมพระราชมณเฑียร
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2453 และพระราชพธีบรมราชา
ฉัตรโหมดทอง 5 ชั้น ส าหรับพระราชโอรส ิ
พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ที่ด ารงพระอิสริยยศ ภิเษกสมโภช วันที่ 28 พฤศจิกายน 2454
เป็นพระองค์เจ้าแต่มิได้ทรงกรม พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7
ั
ฉัตรโหมดเงิน 3 ชั้น ส าหรับพระโอรส พระธิดา ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในวันที่ 25 กุมภาพนธ์
ในสมเด็จพระบวรราชเจ้าที่ด ารงพระอิสริยยศเป็น 2468
พระองค์เจ้าต่างกรม พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล
ฉัตรโหมดทอง 3 ชั้น ส าหรับพระโอรส พระธิดา พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 ไม่มีการจัดพระราชพิธี
ในสมเด็จพระบวรราชเจ้าที่มิได้ทรงกรม ฉัตรมงคล เนื่องจากไม่มีการประกอบพระราชพิธีบรม
ประวัติ “ฉัตรมงคล” ราชาภิเษก
ฉัตรถูกเชิญมาใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ โดยเฉพาะ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
พระราชพิธีพระบรมราชาภิเษก พบว่า มีมาตั้งแต่สมัย อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัชกาลที่ 9
่
สุโขทัย โดยปรากฏหลักฐานในหลักศิลาจารึกพอขุน พระราชพิธีฉัตรมงคล จัดขึ้นทุกวันที่ 5 พฤษภาคม
รามค าแหงมหาราช แต่พระราชพธีฉัตรมงคล เริ่มมี เพราะทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เมื่อวันที่
ิ
ครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ 5 พฤษภาคม 2493 และทางราชการถือเป็นวันหยุด
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ตามธรรมเนียมเดิม ตามประเพณีของไทย หลังจากสวรรคตรัฐบาลได้ประกาศ
ในเดือน 6 (ตรงกับเดือนพฤษภาคม) ในราชกิจจานุเบกษา ยกเลิกวันที่ 5พฤษภาคม เป็นวันฉัตรมงคล
เจ้าพนักงานทั้งฝ่ายหน้าและฝ่ายใน ที่มีหน้าที่ ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว
รักษาเครื่องราชูปโภคและพระราชนิเวศน์ จะท าพิธี รัชกาลที่ 10 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระราชพิธี
สมโภชเป็นการภายใน โดยฝ่ายในจะตั้งเครื่องสังเวย บรมราชาภิเษก ขึ้นระหว่างวันที่ 4 - 6 พฤษภาคม 2562
เครื่องประโคม และร้อยดอกไม้ประดับบูชา ส่วนฝ่ายหน้า โดยพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างเป็นทางการ จัดขึ้น
จะจัดพิธีสวดมนต์เลี้ยงพระ ในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 และในปีถัดไป ถือว่าวันที่
4 พฤษภาคม เป็นวันฉัตรมงคล
รัชกาลที่ 4 ทรงประกอบพิธีบรมราชาภิเษก
เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม 2394 และโปรดเกล้าฯ
ให้จัดการพระราชกุศลในวันคล้ายวันบรมราชาภิเษก
และพระราชทานชื่อว่า “ฉัตรมงคล”
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5 ทรงรับบรมราชาภิเษกเมื่อวันพุธที่ 11
พฤศจิกายน 2411 แต่ยังคงให้จัดพระราชพธีฉัตรมงคล ที่มา : https://www.thaipbs.or.th/now/content/155
ิ
ในเดือน 6 ตามแบบอย่างในรัชกาลที่ 4 ผู้น าเสนอ : ร้อยเอกหญิง ณัช์าป์กรน์ จุลมนต์
สวัสดิการสาร เมษายน 2568 17