Page 18 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 18
กองการออมทรัพย์
www.oomsub.com
เศรษ์กิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จ อันที่จริงแล้วปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง
พระพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทาน ที่ใครๆ ก็น าไปประยุกต์ใช้ น าไปปฏิบัติได้ เพราะเป้าหมาย
พระราชด าริชี้แนะแนวทางการด าเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย ส าคัญของเศรษฐกิจพอเพียงก็เพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน
มาโดยตลอด ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ และ การวางแผนการเงินก็เช่นกัน เราสามารถวางแผนการเงิน
เมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย ้าแนวทางการแก้ไข เพื่อให้รอดพ้น ตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงได้ เพราะ “เงินก็คือ
และสามารถด ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส ทรัพยากรอย่างหนึ่ง” ที่เราต้องจัดสรรให้เพียงพอส าหรับ
โลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ โดยสามารถใช้ได้กับ ปัจจุบันและอนาคต การวางแผนการเงินจึงเป็นเรื่องของ
ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน จนถึง การสร้างสมดุลทางการเงิน เพื่อให้มีเงินส าหรับใช้จ่ายได้ทั้ง
ระดับรัฐ“…พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ ในวันนี้และในวันหน้า เพื่อการสร้างความมั่งคั่งอย่างยั่งยืน
แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ เพื่อเป้าหมายในระยะยาว และเพื่อการเกษียณอย่างมั่นคง
พูดจาก็พอเพียง ท าอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง...” ซึ่งเราสามารถประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ
พระราชด ารัสพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- การวางแผนการเงินได้ ดังนี้
อดุลยเดช พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ เมื่อวันที่ 4 ธ.ค.
2541 เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 5 ธันวาคม 2541
หลักเศรษ์กิจพอเพียง สามารถสรุปออกมาได้
3 หลักการคือ การมีความพอประมาณ การมีเหตุผล และ
การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ซึ่งทั้ง 3 หลักการนี้ จะต้องตั้งอยู่บนพื้นฐาน
ความรอบรู้ และต้องมีคุณธรรม
เศรษ์กิจพอเพียงกับการวางแผนการเงิน
1. ความพอประมาณทางการเงิน ความหมายของ
ค าว่าพอประมาณของแต่ละคนอาจไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับ
แต่ละคนว่าความพอประมาณอยู่ที่ระดับใด ทั้งนี้ ให้ดูที่ความรู้
ความสามารถของตนเองประกอบด้วย อย่างไรก็ตามสิ่งที่
ทุกคนควรพิจารณาในหลักการของความพอประมาณ
คือ ความไม่ฟุ้งเฟ้อ ความประหยัด ไม่ใช้จ่ายจนเกินตัว
หรือการที่ไม่ท าอะไรที่สุดโต่งจนเกินไป เช่น กู้เงินมาลงทุน
จ านวนมากเพื่อต้องการให้ประสบความส าเร็จเร็วๆ เป็นต้น
สวัสดิการสาร เมษายน 2568 18