Page 15 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 15
เปิดที่มา “ฉัตร” วันฉัตรมงคล เริ่มต้นจาก “ใบบัว”
ในพระนิพนธ์ สมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ
กองการสงเคราะห์
www.songkhro.com
ต่อมาการถือร่มเข้าขบวนก็กลายเป็นเกียรติของ
ผู้เป็นประธานในขบวน เช่น ขบวนแห่ของจีนและญวณ
ซึ่งมีคนถือวัตถุเป็นกระบอกไปรอบ ๆ ตัวผู้เป็นประธาน
จนเป็นแพเต็มไปหมด
ฉัตร มาจากร่มซ้อนร่ม พระนิพนธ์ ยังบอกอีกว่า
แต่ไทยเราเห็นว่าขบวนแห่ท านองนั้น ไม่เป็นระเบียบ
และไม่สวยงามด้วย ซ ้ายังปิดบังตัวผู้เป็นประธานอีกด้วย
จึงคิดจับร่มซ้อนกันเป็นแถว ๆ เรียกว่า “ฉัตร” และถือเป็น
คตินิยมว่า ฉัตรไม่ว่าจะกี่ชั้นก็ตาม เป็นของตนเอง 1 ชั้น
“ฉัตร” ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ประกอบเกียรติยศ จะซ้อนกันอีกกี่ชั้น ก็หมายความว่าเป็นผู้ชนะกี่ทิศ เช่น
ของบุคคลส าคัญตั้งแต่อดีต ตามพระนิพนธ์สมเด็จพระเจ้า ฉัตร 3 ชั้นหมายถึงผู้ชนะ 2 ทิศ, ฉัตร 5 ชั้นหมายถึงผู้ชนะ
4 ทิศ, ฉัตร 7 ชั้นหมายถึงผู้ชนะ 6 ทิศ และฉัตร 9 ชั้น
บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ ซึ่งมีบอกไว้
ในหนังสือสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม 3 อักษร หมายถึงผู้ชนะ 8 ทิศ และพระมหาเศวตฉัตร 9 ชั้น จะเป็น
ฉ – ต ฉบับราชบัณฑิตยสภา ของใครอื่นไม่ได้ นอกจากพระมหากษัตริย์
ที่มาของฉัตร ในวันฉัตรมงคล สมเด็จพระเจ้า
บรมวงศ์เธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ ทรงพระนิพนธ์
อธิบายไว้ความตอนหนึ่งว่า ใบบัวเป็นที่มาต้นเดิมของร่ม
และร่มเป็นที่มาต้นเดิมของฉัตร
“คนโบราณถือว่าหัวหรือศีรษะ เป็นของส าคัญ
จึงรักษาหัวหรือศีรษะกันเป็นพิเศษ สมัยที่ยังไม่มีร่มใช้นั้น
เขาจึงเอาใบบัวปิด คนที่มีฐานะเป็นหัวหน้าไม่ถือใบบัว
ปิดหัวตัวเอง แต่ให้บ่าวไพร่ของตนถือบังหัวได้”
ต่อมาเมื่อได้มีผู้ประดิษฐ์ร่มขึ้นใช้แทนใบบัว คนที่
เป็นหัวหน้าจะไปไหนก็มีคนคอยกางร่มให้ นายทัพนายกอง
เมื่อไปสนามรบก็มีคนกั้นร่มให้ เพราะนอกจากจะเป็น
การถนอมหัวแล้ว ยังเป็นประโยชน์ที่จะให้ไพร่พลได้รู้ว่า ประเพณีการใช้ฉัตรของไทย
นายทัพนายกองของตนอยู่ที่ไหน จะได้รับค าสั่งถูกต้อง สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา
เมื่อนายทัพนายกองต่างมีร่มเป็นสัญญาณของ นริศรานุวัดติวงศ์ ทรงวินิจฉัยประเพณีการใช้ฉัตรของไทย
ว่า พระเจ้าแผ่นดินมิได้ทรงใช้ฉัตร 9 ชั้น เพยงอย่างเดียว
ตนแล้ว เวลารบกันฝ่ายชนะจึงยึดร่มของฝ่ายแพ้ไว้ ี
เป็นพยานในชัยชนะของตน เมื่อยึดมาแล้วจะไปไหน
แต่ทรงใช้ฉัตรตั้งแต่ 1 ชั้น จนถึง 9 ชั้น
ก็จัดให้มีคนถือร่มที่ยึดได้ตามไปด้วยในขบวนเป็นการ
ประกาศชัยชนะของตน
สวัสดิการสาร เมษายน 2568 15