Page 19 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 19

2. ความมีเหตุผลทางการเงิน หมายถึง การวางแผน            กล่าวโดยสรุป หากเราด าเนินชีวิตโดยยึดหลัก

  และศึกษาหาความรู้เพื่อประกอบการตัดสินใจในชีวิตอย่าง      ปรัชญาเศรษ์กิจพอเพียงเป็นส าคัญ ย่อมท าให้
  มีเหตุผล ไม่หลงเชื่อใคร หรือเชื่ออะไรง่าย ๆ จะต้องดูเหตุผล   การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มีความรอบคอบ อยู่บน
  มีที่มาที่ไป และหาข้อมูลจากหลาย ๆ ทางก่อนที่จะเชื่อหรือ  พื้น์านของความมีเหตุผล พอประมาณ และมีภูมิคุ้มกัน

  ตัดสินใจทางการเงินลงไป นอกจากนี้ต้องมีความเข้าใจ       เพื่อ ลดความเสี่ยงในการด าเนินชีวิตได้ โดยการ
  ในการวางแผนการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการวางแผนค่าใช้จ่าย     วางแผนการเงินที่ได้กล่าวมาทั้งหมด ต้องอยู่บนความ

  การออมและการลงทุน เพราะการวางแผนการเงิน            รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และมีคุณธรรมเป็นพื้น์าน
  เป็นเครื่องมือที่ท าให้เราสามารถจัดสรรทรัพยากรทางการเงิน  ส าคัญในการตัดสินใจ ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ความ
  อย่างรอบคอบ เกิดสมดุลในชีวิตและเพียงพอต่อการ      อดทน ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรค ใช้สติปัญญาในการด าเนิน
  ด าเนินชีวิต    ได้อย่างปกติสุขในอนาคต                  ชีวิต  ไม่โลภ และไม่ตระหนี่จนเกินไป

          3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี หมายถึง มีการเตรียม
  ความพร้อม เมื่อเข้าใจว่าอาจจะมีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น

  และจะส่งผลกับสถานภาพทางการเงินของตัวเอง จึงมีการ
  เตรียมพร้อมเพื่อรับมือกับเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจจะเข้ามา

  อย่างไม่คาดคิด เช่น อุบัติเหตุ การเจ็บป่วย และการเสียชีวิต
  เข้าใจความส าคัญของการออมเงินและหาความรู้เกี่ยวกับการ
  ออม การลงทุนอย่างรอบคอบ รู้จักสร้างผลตอบแทนจาก

  การลงทุนอย่างระมัดระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางการเงิน
  ที่แข็งแกร่งให้ตัวเอง ซึ่งการวางแผนการเงินจะเป็นเครื่องมือ

  ที่ท าให้เรามีภูมิคุ้มกันทางการเงินที่ดี เพราะเราได้มีการจัดสรร
  เงินให้สอดคล้องกับทั้งเป้าหมายระยะสั้น และระยะยาว
  มีการกันเงินส ารองเผื่อฉุกเฉิน มีการวางแผนประกันภัย

  มีการเตรียมการส าหรับการเกษียณอายุ ตลอดจนวางแผน
  การลงทุนให้สอดคล้องกับความสามารถในการรับความเสี่ยง

  ของตนเอง

                                                          ที่มา :  https://www.scb.co.th/th/personal-
                                                          banking/stories/retirement-plan/money-plan-

                                                          follow-sufficiency-economy




                                                               ผู้น าเสนอ : พันโทหญิง ปาริชาติ  นิลเขียว

















                                 สวัสดิการสาร                 เมษายน 2568                                19
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24