Page 17 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 17

อุโบสถ, โบสถ์ และวิหาร ต่างกันอย่างไร



                                                                                           กองการฌาปนกิจ
                                                                                www.chapanakit-rta.com

          ประเทศไทยของเราได้ชื่อว่าเป็นเมืองพุทธ เพราะหากจะ     การสร้างโบสถ์ต้องขอพระราชทานวิสุงคามสีมา

   ดูตามประชากรในประเทศไทยของเราเกือบทั้งหมดนับถือ  คือเขตที่พระมหากษัตริย์พระราชทานเป็นสิทธิ์ขาดเพื่อให้ใช้
   ศาสนาพุทธ วัดแต่ละภาคก็มีทั้งที่เหมือนและแตกต่างกัน เป็นที่สร้างโบสถ์ได้ บริเวณภายนอกโบสถ์จะฝังลูกนิมิต

   ในด้านสถาปัตยกรรม และการตกแต่ง แต่สิ่งที่คนส่วนใหญ่ โดยรอบเป็นเครื่องก าหนดเขตที่ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา
   อาจจะยังไม่รู้ความแตกต่างที่ชัดเจน แม้ว่าจะเข้าออกวัดกันมา ตามปกติมีลูกนิมิต 8 ลูกใน 8 ทิศ ด้านบนเหนือลูกนิมิตมักมี
   ตั้งแต่จ าความได้ก็คือ ความแตกต่างระหว่างอุโบสถ โบสถ์ กับ ใบสีมา (ใบเสมา) ประดิษฐานอยู่ และอาจสร้างซุ้มครอบ

   วิหาร หรือบางคนอาจจะเข้าใจผิดว่า อุโบสถ โบสถ์หรือวิหาร ใบสีมา เรียกว่า ซุ้มพัทธสีมา หรือ ซุ้มสีมา รูปแบบผังพื้น
   ก็เป็นค าที่ใช้เรียกสถานที่แห่งเดียวกัน แต่นั่นเป็นความเข้าใจที่ผิด โดยทั่วไปเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักมีระเบียง มุข หรือเฉลียง

                                                        ประกอบ












          ค าว่า “โบสถ์” และ “วิหาร” สร้างความสับสนอยู่บ่อย ๆ
   ให้กับเหล่าสายบุญ บางวัดมี “อุโบสถ” เป็นศัพท์เพิ่มเข้ามาอีก
   เวลาถ่ายรูปเช็คอินถึงกับต้องเข้าไปดูข้อมูลให้แน่ใจว่านี่โบสถ์

   นั่นวิหาร ส่วนนี่อุโบสถ เรามาเพิ่มทักษะความรู้กันค่ะ         โบสถ์พบหลักฐานว่าเริ่มมีในสมัยสุโขทัย แต่มีเพียง

          อุโบสถ หรือโบสถ์ ถ้าเอาตามแบบพจนานุกรมก็คือ ซากไม่มากนัก ต่อมาในสมัยอยุธยาตอนต้น โบสถ์มีความส าคัญ
   ค าเดียวกัน แต่นับตามสมัยนิยมมีจุดต่างกันเล็กน้อย ซึ่งโบสถ์ ขึ้นกว่าเดิมแต่ยังน้อยกว่าวิหาร จึงยังมีขนาดเล็กและนิยมสร้าง
   ไม่จ าเป็นต้องมีอาคารใหญ่โตอลังการ ขอเพียงมีพื้นที่ ไว้ทางทิศตะวันตกซึ่งเป็นด้านหลังของวัด ในสมัยอยุธยา
   พอเหมาะก็สามารถใช้ประกอบพิธีกรรมได้ ส่วนอุโบสถ
                                                        ตอนกลางและตอนปลาย โบสถ์มีความส าคัญมากขึ้น จึงท าให้
   มีลักษณะเป็นห้องโถง โดยมีส่วนประกอบทางสถาปัตยกรรม ขนาดและรูปแบบเปลี่ยนแปลงไป เช่น โบสถ์สมัยอยุธยา

   ครบครัน เช่น หน้าบันปูนปั้น, ช่อฟ้า, ใบระกา, นาคสะดุ้ง ฯลฯ ตอนกลางมีขนาดใหญ่ขึ้นกว่าเดิม เจาะช่องหน้าต่าง และมี
   โบสถ์ หรืออุโบสถ เป็นอาคารส าคัญของวัด ทาง ลักษณะเด่นคือท าตรงส่วนฐานเป็นเส้นอ่อนโค้งอย่างที่
   พระพุทธศาสนา ใช้เป็นที่ประชุมพระสงฆ์เพื่อท าสังฆกรรม  เรียกว่า ตกท้องส าเภา หรือ ตกท้องช้าง ซึ่งถือเป็นสิ่งส าคัญยิ่ง
   (การประชุมของพระสงฆ์ตามพระวินัยปิฎกเพื่อประกอบ       ของวัดมาจนถึงปัจจุบัน

   กิจกรรมต่าง ๆ เช่น การอุปสมบท การลงพระปาฏิโมกข์) ใน
   สมัยโบราณใช้ใบสีมา หรือเรียกอีกอย่างว่าใบเสมา













                                 สวัสดิการสาร                  มีนาคม  2568                              17
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22