Page 14 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 14
กองการออมทรัพย์
www.oomsub.com
ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้เลยว่า “โลกโซเชียล” ส าคัญ เริ่มแรกเลยเรามาท าความรู้จักเกี่ยวกับ
ส าหรับเราขนาดไหน เพราะในทุก ๆ เช้าที่ตื่นมาหลายคน “ข้อมูล” หรือ “DATA” กันก่อน
ื่
เป็นต้องหยิบโทรศัพท์ขึ้นมาเพอเช็กโซเชียลก่อนเป็นอย่าง ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริงในเรื่อง
แรก และแน่นอนว่าหากเราลองคิดตามเราก็จะรู้ว่าโลก ต่าง ๆ ที่มาในรูปแบบ ภาพ ตัวเลข ตัวอักษร และอื่น ๆ
โ ซ เชียลมีผลกับชีวิตประจ าวันเราขนาดไหน เช่น ที่ยังไม่ผ่านการประมวลผล ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลเบอร์
การสั่งอาหาร การสั่งสินค้า หรือแม้แต่การอานข่าวสาร โทรศัพท์ หรือ E-mailของเราที่มิจฉาชีพสามารถใช้ติดต่อ
่
ต่าง ๆ ที่สามารถท าให้เราเข้าถึงข้อมูลได้ไวกว่าช่องทางอน มาหาเราได้ แน่นอนว่าหลายคนเคยสงสัยแน่ ๆ ว่าแล้วคน
ื่
และเมื่อเรารู้ถึงข้อมูลที่เราควรปกป้องไว้แล้วเรากมารู้ถึง เหล่านั้นน าข้อมูลส่วนตัวเรามาจากไหน ถ้าจะบอกกัน
็
่
วิธีการท่องโซเชียลให้ข้อมูลของเรามีความปลอดภัยกันต่อเลย จริง ๆ คงต้องอานกันอีกยาว แต่ส่วนใหญ่แล้วมิจฉาชีพจะ
ได้ข้อมูลไปก็เพราะเราใช้โซเชียลโดยไม่ได้ระมัดระวัง
ใส่เบอร์โทรหรืออีเมลลงไปโดยที่เราไม่ตั้งใจ เพราะฉะนั้น
เราต้องมารู้ถึงประเภทของข้อมูลที่เราควรป้องกันไว้ก่อน
วิธีท่องโซเชียลให้ข้อมูลปลอดภัย โดยเราจะแบ่ง
หลัก ๆ ออกเป็น 7 วิธี
1. ตั้งรหัสผ่านที่เรารู้คนเดียว หลาย ๆ คนอาจจะ
เคยพบเจอคนรอบข้างที่โดนแฮ็กบัญชีผู้ใช้ส่วนตัวบน
แพลตฟอร์มต่าง ๆ แน่นอนว่าการตั้งรหัสผ่านที่เรารู้
คนเดียวไว้จะช่วยให้อุ่นใจกว่า รวมถึงการตั้งรหัสผ่านที่ยาก
ขึ้นแต่เราสามารถจ าได้ด้วยตัวเราเองก็จะเพิ่มความ
ประเภทของข้อมูลที่เราควรป้องกันไว้ ปลอดภัยให้ข้อมูลของเรามากขึ้น
➢ เลขบัตรประชาชน 2 ตั้งสติในการเสพข่าว เราอาจจะเห็น
.
➢ เลขทะเบียนบ้าน ได้ชัดจากเพจต่าง ๆ ที่เมื่อเวลามีข่าวดังที่คนสนใจก็จะเกิด
➢ เบอร์โทรศัพท์ การคอมเมนต์มากมาย แต่ใครจะไปรู้ในคอมเมนต์เหล่านั้น
➢ E-mail ส่วนตัว อาจเป็นการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวของเราออกไปได้
➢ วันเกิด เพราะฉะนั้นแล้วหากเรามีสติ และเสพข่าวอย่างไม่ใส่
➢ ประวัติการค้นหาจากการท่องเว็บไซต์ อารมณ์ คอมเมนต์ และกดแชร์เท่าที่จ าเป็นก็จะช่วยรักษา
(ควรใช้โหมดค้นหาแบบไม่จดจ าตัวตน) ข้อมูลของเราไว้ได้
➢ ข้อมูลบนโปรไฟล์โซเชียลมีเดีย
➢ เพจที่เราติดตาม หรือคอมเมนต์
➢ ค าร้องออนไลน์ที่เราเคยลงชื่อไว้
สวัสดิการสาร มีนาคม 2568 14