Page 12 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 12
เปิดต านาน “วันสงกรานต์” ท าไมต้อง 13 เมษายน
กองการสงเคราะห์
www.songkhro.com
ที่รับมาจากอินเดียเนื่องจากเดือนเมษายนเป็นเวลาที่
คนไทยว่างจากการท านา จึงเป็นการเหมาะสมส าหรับ
คนไทยที่จะฉลองปีใหม่ในช่วงเวลานั้นด้วย
เดิมทีวันที่จัดสงกรานต์นั้น จะมีการค านวณทาง
ดาราศาสตร์ แต่ในปัจจุบันได้มีการก าหนดวันที่แน่นอน คือ
ตั้งแต่ 13 – 15 เมษายน โดยช่วงเวลาฉลองสงกรานต์
ในแต่ละท้องถิ่นอาจไม่ตรงกันทีเดียว แต่ส่วนใหญ่แล้ว
นิยมท าบุญตักบาตรในวันที่ 13 เมษายน ถือเป็นวัน
ประเพณีสงกรานต์ของไทย จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ มหาสงกรานต์ คือเป็นวันที่พระอาทิตย์ก้าวเข้าสู่ราศีเมษ
13 – 15 เมษายน ตรงกับเดือนห้าตามจันทรคติ โดยหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ไทยแสดงให้เห็นว่า ประเพณีนี้เกิดขึ้นมา เป็นวันสิ้นปีเก่า วันที่ 14 เมษายน เป็นวันเนา คือวันที่
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว ซึ่งสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เชื่อมต่อระหว่างปีเก่ากับปีใหม่ และวันที่ 15 เมษายน
โปรดฯ ให้ตราขึ้น กล่าวถึง “พระราชพิธีเผด็จศก” และ เป็นวันเถลิงศกขึ้นปีใหม่
วันที่ 13 เมษายน เรียกว่า มหาสงกรานต์
“พระราชพิธีลดแจตร” (วันผู้สูงอายุ)
พระราชพิธีเผด็จศก เป็นพิธีการเกี่ยวกับการตัดจาก
ปีเก่าขึ้นสู่ปีใหม่ ส่วนพระราชพิธีลดแจตรนั้น พระบาทสมเด็จ วันที่ 14 เมษายน เรียกว่า วันเนา (วันครอบครัว)
พระจุลจอมเกล้า ทรงสันนิษฐานว่าหมายถึง พระราชพิธี วันที่ 15 เมษายน เรียกว่า วันเถลิงศก
รดน ้าเดือน 5 แสดงว่าประเพณีสงกรานต์ของหลวง มีมา
ตั้งแต่ต้นสมัยกรุงศรีอยุธยาแล้ว โดยในสมัยก่อนไทยใช้
จุลศักราชการขึ้นปีใหม่ จึงเป็นการขึ้นจุลศักราชใหม่
ค าว่า “สงกรานต์” มาจากภาษาสันสกฤต แปลว่า
การเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนย้าย หมายถึง การเคลื่อนย้าย
ของพระอาทิตย์จากราศีหนึ่งสู่อีกราศีหนึ่ง ตามความหมาย
ในภาษาสันสกฤต สงกรานต์ จึงเกิดขึ้นทุกเดือน ส่วนระยะเวลา กิจกรรมวันสงกรานต์ เนื่องจากยึดถือเป็น
ที่คนไทยเรียกว่า “สงกรานต์” นั้น เป็นช่วงที่พระอาทิตย์
เคลื่อนย้ายจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษ นับว่าเป็นมหาสงกรานต์ วันขึ้นปีใหม่ของไทย กิจกรรมในวันสงกรานต์ที่ยึดถือกันมา
เพราะเป็นวัน และเวลาตั้งต้นปีใหม่ตามสุริยคติ ซึ่งถือ จึงเน้นไปที่ความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน ที่มีต่อกัน
ปฏิบัติในอินเดีย ทั้งในครอบครัว ชุมชน สังคม และศาสนา มีทั้งการท าบุญ
แสดงความกตัญญู และพบปะสังสรรค์ สร้างความสนุกสนาน
ในสมัยโบราณไทยนับเดือนตามจันทรคติ และฉลอง ท าบุญตักบาตร หรือน าอาหารไปถวายพระที่วัด
การขึ้นปีใหม่ในเดือนอ้าย ซึ่งตรงกับเดือนธันวาคม ประเพณี
สงกรานต์จึงน่าจะเป็นประเพณีฉลองการขึ้นปีใหม่ เพื่อสืบทอด ท านุบ ารุงพระพุทธศาสนา และอุทิศส่วนกุศล
ให้แก่บรรพบุรุษผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว
สวัสดิการสาร มีนาคม 2568 12