Page 26 - สวัสดีครับท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นกระผมขอแนะนำตัวก่อนครับ กระผม พันเอก กัญจน์ณัฎฐ์ นิลนนท์ รับหน้าที่เป็นบรรณาธิการสวัสดิการสารแทน พันเอก สมเกียรติ ถนอมคุ้ม ผู้อำนวยการกองกิจการรร้านสวัสดิการกลาง กรมสวัสดิการทหารบก เนื่องจากท่านมีภารกิจที่มากขึ้น ผู้บังคับบัญชา จึงมอบหมายให้กระผมมารับหน้าที่ต่อจากท่าน แต่ไม่ต้องกังวลครับเพราะว่าหนังสือสวัสดิการสารของเรายังคงมีเนื้อหาสาระน่ารู้ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อท่านสมาชิกเช่นเดิม และถ้าสมาชิกท่านใดอยากแนะนำติชม หรือต้องการให้นำเสนอเรื่องใด สามารถแนะนำมาได้ครับ สุดท้ายนี้กองบรรณาธิการสวัสดิการสารขอขอบคุณทุกหน่วยที่ให้การสนับสนุนข้อมูล และภาพถ่ายทำให้หนังสือสวัสดิการสารมีความสมบูรณ์ครบถ้วนทั้งเนื้อหาสาระ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าท่านผู้อ่านจะได้รับความรู้ พร้อมทั้งความบันเทิงจากหนังสือสวัสดิการสารฉบับนี้ครับ
P. 26
– แผลไหม้จากความเย็น (Ice burn) เคล็ดลับส าหรับมือใหม ่
– อาการชาจากเส้นประสาทถูกท าลาย 1. เริ่มจากการอาบน ้าเย็น เพื่อให้ร่างกายค่อย ๆ
ใครไม่ควรแช่น ้าแข็ง ปรับตัว
ผู้ที่มีอาการต่อไปนี้ควรปรึกษาแพทย์ก่อนการแช่น ้าแข็ง 2. เริ่มแช่เพียง 2 - 5 นาทีในช่วงแรก
– ผู้ที่มีอาการลมพิษจากความเย็น
– ผู้ที่มีโรคหัวใจหรือปอด 3. แช่เฉพาะส่วนขาก่อน แล้วค่อย ๆ เพิ่มระดับน ้า
– ผู้ที่เป็นโรคเรย์โนด์ (Raynaud’s syndrome) 4. สังเกตอาการผิดปกติ เช่น หนาวสั่นมากเกินไป
ผิวชา หรือสับสน
สรุป
การแช่น ้าแข็งเป็นวิธีการบ าบัดที่อาจมีประโยชน์ต่อ
ร่างกาย โดยเฉพาะส าหรับนักกีฬาและผู้ที่ออกก าลังกาย
หนัก อย่างไรก็ตาม ควรท าความเข้าใจวิธีการที่ถูกต้อง
และข้อควรระวังต่าง ๆ ก่อนเริ่มท า และที่ส าคัญที่สุดคือ
ควรปรึกษาแพทย์ก่อนเริ่มการแช่น ้าแข็ง โดยเฉพาะหาก
สัญญาณอันตรายที่ต้องหยุดแช่ทันที คุณมีโรคประจ าตัวหรือปัญหาสุขภาพ
– อาการหนาวสั่นรุนแรง
– ผิวหนังชาหรือเปลี่ยนสี
– รู้สึกอ่อนเพลียมาก
– สับสนหรือพูดไม่ชัด
– ความจ าเสื่อม
ขั้นตอนการแช่น ้าแข็ง Scan me
1. เตรียมน ้าเย็นที่อุณหภูมิ 10 - 15 องศาเซลเซียส
2. สวมชุดว่ายน ้าหรือชุดกีฬา ที่มา : https://vinasport.co.th/ice-bath-pros-cons-
3. ค่อย ๆ ลงแช่ในน ้า เริ่มจากส่วนขา coldwater-emersion/
4. แช่ตัวนาน 5 - 15 นาที
5. หลังแช่เสร็จ ให้เช็ดตัวให้แห้งและอบอุ่นร่างกาย ผู้น าเสนอ : พันตรี พลากร ไกรพานนท์
สวัสดิการสาร เมษายน 2568 26